วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

บทที่6 เรื่องที่3 รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์

  1. 1. รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
  2. 2. Contents <ul><li>แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐบาล </li></ul><ul><li>การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ </li></ul>
  3. 3. แนะนำรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ <ul><li>รัฐบาลดำเนินกิจกรรม ผ่านช่องทางการสื่อสาร เครือข่าย และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานของหน่วยงานในภาครัฐ ในด้าน </li></ul><ul><ul><li>บริการประชาชน </li></ul></ul><ul><ul><li>ประชาสัมพันธ์หน่วยงานบริการข้อมูล ข่าวสาร เพื่อส่งเสริมการพัฒนา ทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคม </li></ul></ul><ul><ul><li>ส่งเสริมภาพลักษณ์อันดีของหน่วยงาน </li></ul></ul>
  4. 4. ปัจจัยนำสู่ E-Government <ul><li>ปัจจัยภายใน (Internal factor) </li></ul><ul><ul><li>ด้านงบประมาณ </li></ul></ul><ul><ul><li>อัตรากำลัง </li></ul></ul><ul><li>ปัจจัยภายนอก (External factor) </li></ul><ul><ul><li>ข้อจำกัดการแข่งขันทางการค้าอย่างเสรี </li></ul></ul><ul><ul><li>การให้บริการพื้นฐาน </li></ul></ul><ul><ul><li>ภาพลักษณ์ขององค์กร </li></ul></ul>
  5. 5. วัตถุประสงค์ ของ E-Government <ul><li>เพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการพื้นฐานของรัฐ </li></ul><ul><li>สร้างปฏิสัมพันธ์ในการมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานของรัฐ กับประชาชน </li></ul><ul><li>ส่งเสริมภาพลักษณ์อันดีให้กับหน่วยงานราชการ </li></ul><ul><li>เพื่อให้ความคุ้มครองด้านความปลอดภัยแก่ ประชาชน </li></ul>
  6. 6. รูปแบบ ของ E-Government <ul><li>Government-to-Government (G2G) </li></ul><ul><li>Government-to-Citizen (G2C) </li></ul><ul><li>Government-to-Business (G2B) </li></ul><ul><li>Government-to-Employee (G2E) </li></ul>
  7. 7. รัฐกับรัฐ ( Government-to-Government: G2G ) <ul><li>เป็นการติดต่อและดำเนินกิจกรรมภายในหน่วยงานราชการเดียวกัน หรือแม้แต่หน่วยงานที่แตกต่างกัน โดยมุ่งเน้นที่จะใช้ช่องทางระบบเครือข่ายและสารสนเทศของภาครัฐร่วมกัน </li></ul>
  8. 8. รัฐกับประชาชน ( Government-to-Citizen: G2C ) <ul><li>การให้บริการพื้นฐานของรัฐไปสู่ประชาชนโดยตรงผ่านช่องทางเครือข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การสอบถามข้อมูลต่าง ๆ การชำระเงินภาษี การจ่ายค่าปรับ </li></ul><ul><li>แบบเรียลไทม์ ( Real Time ) และแบบออนไลน์ ( Online ) </li></ul>
  9. 9. รัฐกับธุรกิจ ( Government-to-Business: G2B ) <ul><li>การให้บริการพื้นฐานของภาครัฐกับภาคธุรกิจ โดยรัฐจะเป็นผู้ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจอุตสาหกรรมมีขีดความสามารถในการแข่งขัน รวมไปถึงข้อมูลสนับสนุนที่มีความถูกต้อง ตรงประเด็น และโปร่งใส เช่น การลงทุนการชำระภาษี การส่งออกและนำเข้า การจดทะเบียนการค้า และการช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดเล็ก ( Small and Medium Enterprise: SME ) </li></ul>
  10. 10. รัฐกับเจ้าหน้าที่ ( Government-to-Employee: G2E ) <ul><li>การให้บริการพื้นฐานของรัฐกับเจ้าหน้าที่ของรัฐโดยตรงผ่านช่องทางเครือข่ายสารสนเทศของรัฐ เช่น การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารหรือทำงานร่วมกันของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานที่อยู่สังกัด กอง / ศูนย์ สำนักฝ่ายเดียวกันหรือต่างหน่วยงานกันก็ตาม </li></ul>
  11. 11. การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐบาล <ul><li>เป็นกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานรัฐ บนระบบอินเตอร์เน็ต ด้วยกิจกรรม </li></ul><ul><ul><li>การตกลงราคา </li></ul></ul><ul><ul><li>การประกวดราคา </li></ul></ul><ul><ul><li>การจัดซื้อด้วยวิธีพิเศษ </li></ul></ul><ul><ul><li>การประมูล </li></ul></ul><ul><li>เพื่อ </li></ul><ul><li>เพิ่มประสิทธิภาพ </li></ul><ul><li>ส่งเสริมภาพลักษณ์ </li></ul><ul><li>ประหยัดงบฯที่สูงเกินจริง </li></ul>
  12. 12. แนวทางการพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้าง อิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ <ul><li>แปรผันตามต้นทุน ( Cost ) กับความสลับซับซ้อน ( Complexity ) </li></ul><ul><li>กรอบแนวคิดและแนวทางการปฏิบัติ </li></ul>
  13. 13. แปรผันตามต้นทุน ( Cost ) กับความสลับซับซ้อน ( Complexity ) <ul><li>มีข้อพิจารณาทั้ง 4 ประการ ดังนี้ </li></ul><ul><li>การจัดซื้อจัดจ้างที่มีมูลค่าสูง </li></ul><ul><li>การจัดซื้อจัดจ้างที่มีมูลค่าต่ำ </li></ul><ul><li>ระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ ควรผนวกรวมเครื่องมือที่ช่วยอำนวยความสะดวกในการวิเคราะห์ข้อมูล </li></ul><ul><li>ระบบการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ ควรผนวกรวมระบบสนับสนุนที่เกี่ยวข้อง </li></ul>
  14. 14. กรอบแนวคิดและแนวทางการปฏิบัติ <ul><li>พิจารณา 7 ประเด็น คือ </li></ul><ul><li>ระบบ E-Learning เป็นระบบการจัดซื้อจัดจ้างสินค้าและบริการที่มีมูลค่าสูง </li></ul><ul><li>ระบบ E-Purchasing แบ่งออกเป็น 2 ระบบย่อย </li></ul><ul><ul><li>ระบบ E-Shopping </li></ul></ul><ul><ul><li>ระบบ E-Auction </li></ul></ul><ul><li>สามารถเปิดเผยข้อมูลแก่สาธารณะชนได้ทั้งข้อมูลของโครงการต่าง ๆ </li></ul><ul><li>การกระจายข้อมูล ไปยังผู้ที่เกี่ยวข้องฝ่ายต่าง ๆ </li></ul>
  15. 15. กรอบแนวคิดและแนวทางการปฏิบัติ ( ต่อ ) <ul><li>5. การยื่นประกวดราคาผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Bid Submission ) </li></ul><ul><li>6. การเพิ่มความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพื่อให้เกิดบริการมูลค่าเพิ่ม </li></ul><ul><li>7. พัฒนาระบบแคตาล็อก ( E-Catalog System ) </li></ul>
  16. 16. องค์ประกอบหลักของระบบการจัดซื้อจัดจ้าง อิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ <ul><li>องค์ประกอบหลัก 6 ส่วน </li></ul><ul><ul><li>ระบบแคตาล็อกอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Catalog: E-Catalog ) </li></ul></ul><ul><ul><li>ระบบ Electronic Request For Proposal (E-RFP) และระบบ Electronic Request For Quotation (E-RFQ) </li></ul></ul><ul><ul><li>ระบบประมูลอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ ( Electronic Auction: E-Auction ) </li></ul></ul><ul><ul><li>ระบบแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ( Electronic Data Exchange ) </li></ul></ul><ul><ul><li>เว็บไซต์ท่าสำหรับใช้เป็นศูนย์การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ </li></ul></ul><ul><ul><li>ผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Marketplace Service Provider ) </li></ul></ul>
  17. 17. แนวทางการนำระบบการจัดซื้อจัดจ้าง อิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐมาประยุกต์ใช้ <ul><li>มี 8 ขั้นตอน คือ </li></ul><ul><li>ขั้นตอนที่ 1: ค้าหาสินค้า / บริการที่จะซื้อผ่าน E-Catalog </li></ul><ul><li>ขั้นตอนที่ 2: เลือกหมวดสินค้าที่ต้องการซื้อผ่าน E-Shopping List </li></ul><ul><li>ขั้นตอนที่ 3: จัดการประกาศเชิญชวนผ่านทางเว็บไซต์ </li></ul><ul><li>ขั้นตอนที่ 4: ผู้ขายเสนอคุณสมบัติของสินค้าทางอินเตอร์เน็ต ( Electronic Request For Quotation: E-RFQ ) </li></ul>
  18. 18. แนวทางการนำระบบการจัดซื้อจัดจ้าง อิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐมาประยุกต์ใช้ ( ต่อ ) <ul><li>ขั้นตอนที่ 5: ผู้จรวจสอบราคากลาง ( Electronic Request For Quotation: E-RFQ ) และบันทึกติดตามของผู้ขาย ( Track Record ) </li></ul><ul><li>ขั้นตอนที่ 6: ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Auction: E-Auction ) </li></ul><ul><li>ขั้นตอนที่ 7: ประกาศผลผู้ชนะ และส่งมอบ / ตรวจสอบพัสดุ </li></ul><ul><li>ขั้นตอนที่ 8: จ่ายเงินตรงโดยผ่านระบบจ่ายเงินอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Payment Systems ) </li></ul>
  19. 19. วงจรการจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐบาล
  20. 20. การประมูลอิเล็กทรอนิกส์ของภาครัฐ <ul><li>ส่วนราชการผู้ซื้อ </li></ul><ul><li>ส่วนผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>ส่วนผู้ขาย / ผู้ค้า / ผู้รับจ้าง </li></ul>
  21. 21. ภาพจำลองกลไกของ E-Auction
  22. 22. ส่วนราชการผู้ซื้อ <ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 1: การเตรียมการวางแผนจัดหาพัสดุ ( Enterprise Resource Planning: ERP ) </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 2: การแต่งตั้งคณะกรรมการจัดหาโดยวิธีการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 3: อำนาจหน้าที่คณะกรรมการการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 4: การประกาศผู้ชนะการประมูล </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 5: การทำสัญญาจัดซื้อ / จัดจ้าง </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 6: การตรวจรับพัสดุ </li></ul>
  23. 23. ส่วนผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ <ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 1: การแสดงความประสงค์ในการเป็นผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ ( E-Marketplace Service Provider ) </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 2: ประสานงานกับส่วนราชการผู้ต้องการจัดหาพัสดุ </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 3: การจัดหาผู้ค้าเพิ่มให้แก่ส่วนราชการ </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 4: การจัดอบรมการใช้งานระบบประมูลอิเล็กทรอนิกส์แก่ผู้ขาย / ผู้ค้า / ผู้รับจ้าง </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 5: การดำเนินจัดการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้มีการแข่งขันกันอย่างยุติธรรม </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 6: การดำเนินการภายหลังเสร็จสิ้นการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul>
  24. 24. ส่วนผู้ขาย / ผู้ค้า / ผู้รับจ้าง <ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 1: ติดตามประกาศเชิญชวนเข้าร่วมการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 2: เตรียมข้อมูลคุณสมบัติและราคาของพัสดุที่จะเสนอขาย </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 3: เข้ารับการอบรมและซักซ้อมวิธีการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 4: ร่วมเสนอราคาในวันประมูลตามวันและเวลาที่ส่วนราชการกำหนด </li></ul><ul><li>กิจกรรมลำดับที่ 5: วิธีการประมูลอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul>
  25. 25. องค์ประกอบหลักของ การจัดซื้อจัดจ้างอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐบาล <ul><li>ระบบแคทตาล๊อก อิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>ระบบสอบถามราคา หรือ ตกลงราคา </li></ul><ul><li>การประมูล </li></ul><ul><li>การแลกเปลี่ยนข่าวสาร </li></ul><ul><li>ตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ </li></ul><ul><li>www.gprocurement.or.th/marketplace/index.php4 </li></ul>

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น